เช็คสุขภาพ : ที่นี่ ... มีคำตอบให้ทุกคำถามเกี่ยวกับสุขภาพของท่าน
หน้าแรก / บทความ / ราชพฤกษ์ (Laburnum)
โดย :
ทบทวนบทความโดย :
ราชพฤกษ์ (Laburnum)

การใช้ประโยชน์

ราชพฤกษ์ (Laburnum) ใช้ทำอะไร

ราชพฤกษ์ (Laburnum) เป็นพืชชนิดหนึ่ง เมล็ดถูกทำเป็นยา

ทั้งๆ ที่กังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยอย่างจริงจัง เราใช้ราชพฤกษ์ (Laburnum) เพื่อให้อาเจียนและทำให้ลำไส้ว่าง

ราชพฤกษ์ (Laburnum) ทำงานอย่างไร

ยังไม่มีการศึกษาวิจัยที่เพียงพอสำหรับการอธิบายการทำงานของราชพฤกษ์ (Laburnum) โปรดปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรหรือแพทย์สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อควรระวังและคำเตือน:

เราควรรู้อะไรบ้างก่อนใช้ราชพฤกษ์ (Laburnum):

ปรึกษาแพทย์ผู้ทำการรักษาหรือเภสัชกรหรือผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพร ในกรณีที่:

  • ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร เนื่องจาก ในขณะที่ตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร ควรจะได้รับยาตามคำสั่งแพทย์เท่านั้น
  • ใช้ยาชนิดอื่นอยู่ กรณีนี้รวมถึงยาทุกชนิดที่ซื้อรับประทานเองโดยไม่มีใบสั่งยาจากแพทย์
  • แพ้สารจากราชพฤกษ์ (Laburnum) หรือแพ้ยาชนิดอื่น หรือแพ้สมุนไพรชนิดอื่น
  • มีอาการไม่สบาย มีอาการผิดปกติ หรือมีพยาธิสภาพอื่นๆ
  • มีอาการแพ้ต่าง ๆ เช่น แพ้อาหาร สีผสมอาหาร สารกันบูด หรือเนื้อสัตว์

ข้อบังคับสำหรับสมุนไพรนั้นมีความเข้มงวดน้อยกว่าข้อบังคับของการใช้ยา จำเป็นต้องมีการศีกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความปลอดภัย คุณประโยชน์ของการรับประทานสมุนไพรนี้ต้องมีค่าน้ำหนักมากกว่าความเสี่ยง ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรหรือแพทย์ผู้ทำการรักษาสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม

ราชพฤกษ์ (Laburnum) ปลอดภัยแค่ไหน

ราชพฤกษ์ (Laburnum) ไม่ปลอดภัย ทุกส่วน รวมถึงเมล็ด และลูกเบอร์รี่เป็นอันตรายอย่างมาก การทานเพียง 20 เมล็ด หรือ 3-4 ลูกเบอร์รี่ดิบสามารถฆ่าผู้ใหญ่ได้

ข้อควรระวังพิเศษ และคำเตือน

การตั้งครรภ์และให้นมบุตร: ราชพฤกษ์ (Laburnum) ไม่ปลอดภัย และสามารถเป็นเหตุให้ถึงแก่ชีวิต อย่าใช้มัน

ผลข้างเคียง:

ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ราชพฤกษ์ (Laburnum) มีอะไรบ้าง:

ราชพฤกษ์ (Laburnum) เป็นมีฤทธิ์เป็นพิษ อาการพิษจากราชพฤกษ์ (Laburnum) เช่น อาการคลื่นไส้ วิงเวียนศีรษะ ภาวะหลั่งน้ำลายมาก เจ็บปาก คอ และท้อง เหงื่อออกมาก ปวดศีรษะ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด การชักกระตุกของกล้ามเนื้อ อัมพาต ลดการขับปัสสาวะ ลดการหายใจ และถึงตายได้

ใช่ว่าทุกคนที่จะได้รับผลข้างเคียงเหล่านี้ อาจจะมีผลข้างเคียงบางอย่างที่ไม่ได้ระบุไว้ข้างต้น ถ้าหากมีความกังวลเกี่ยวกับผลข้างเคียง โปรดปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรหรือแพทย์ผู้ทำการรักษา

ปฏิกิริยาระหว่างยา:

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาอื่นร่วมกับราชพฤกษ์ (Laburnum) มีอะไรบ้าง:

ปริมาณการใช้:
ข้อมูลที่เผยแพร่นี้ไม่ใช่คำแนะนำทางการแพทย์ ดังนั้นจึงควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรหรือแพทย์ผู้ทำการรักษาก่อนใช้ยาชนิดนี้เสมอ

ปริมาณปกติของการใช้ราชพฤกษ์ (Laburnum) อยู่ที่เท่าไหร่:

ปริมาณการใช้ราชพฤกษ์ (Laburnum) อาจแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย ขนาดยาที่ใช้ขึ้นอยู่กับช่วงอายุ สุขภาพและปัจจัยอื่น ๆ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมอาจไม่ปลอดภัยเสมอไป โปรดปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรหรือแพทย์ผู้ทำการรักษาสำหรับปริมาณที่เหมาะสม

ราชพฤกษ์ (Laburnum) มีจำหน่ายในรูปแบบใดบ้าง:

ราชพฤกษ์ (Laburnum) อาจมีจำหน่ายในรูปแบบต่อไปนี้:

  • ราชพฤกษ์ดิบ

 

Laburnum http://www.webmd.com/vitamins-supplements/ingredientmono-327-laburnum.aspx?activeingredientid=327&activeingredientname=laburnum Accessed September 8, 2017

Laburnum http://www.botanical.com/botanical/mgmh/l/labrun02.html Accessed September 8, 2017

24/02/2018
บทความที่เกี่ยวข้อง
CHECKSUKKAPHAP.COM
เลขที่ 598 ชั้น 6 ถนนเพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
095-515-9229
ข้อกำหนดและเงื่อนไข ความเป็นส่วนตัว