เช็คสุขภาพ : ที่นี่ ... มีคำตอบให้ทุกคำถามเกี่ยวกับสุขภาพของท่าน
หน้าแรก / บทความ / รับมือกับลูกที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานในวันที่ลูกป่วย
โดย : วณิชชา สุมานัส
ทบทวนบทความโดย : ทีมแพทย์จากเช็คสุขภาพ
รับมือกับลูกที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานในวันที่ลูกป่วย

ความเจ็บป่วยมีผลอย่างไรต่อระดับน้ำตาลในเลือดของเด็กที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานมีอาการไม่สบายแต่ละครั้งจะใช้ระยะเวลาช่วงหนึ่ง ซึ่งเหมือนกับเด็กคนอื่น ๆ อย่างไรก็ตามผลกระทบของความเจ็บป่วยที่อยู่ในร่างกายสามารถเพิ่มหรือลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน

ข้อควรระวังเพิ่มเติมมีความจำเป็นที่จะต้องรักษาระดับน้ำตาลในเบือดให้อยู่ในความควบคุมของคุณได้ด้วยการวางแผนที่รัดกุม โปรดขอคำปรึกษาจากแพทย์ของคุณ คุณจะสามารถเตรียมตัวรับมือกับวันที่ป่วยนั้นได้อย่างมั่นใจ

เมื่อลูกของคุณมีอาการไม่สบาย ไม่ว่าจะเป็นความเจ็บป่วยเล็กน้อยอย่างเจ็บคอ หรือ ไข้หวัด หรือปัญหาที่ใหญ่มาก เช่น ภาวะขาดน้ำหรือ การผ่าตัด ร่างกายจะรับรู้ถึงความเจ็บป่วยนี้ เช่นความเครียดเพื่อบรรเทาความเครียด ร่างกายจะต่อสู้กับความเจ็บป่วย ในขั้นตอนนี้จะต้องมีพลังงานมากกว่าที่ร่างกายเคยใช้ตอนที่เป็นปกติ

ในทางกลับกันนี่เป็นเรื่องที่ดีเพราะว่าจะช่วยกระจายเชื้อเพลิงส่วนเกินที่ร่างกายต้องการ หรืออีกนัยหนึ่ง ในคนที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน นี่อาจเป็นสาเหตุที่นำไปสู่ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ขณะที่ความเครียดมีแนวโน้มที่จะทำให้น้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นในผู้ป่วยเบาหวาน อาการเจ็บป่วยบางอย่างเช่นไม่รู้สึกอยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน การรับประทานได้น้อยในบางกรณีสามารถส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับปริมาณอินซูลินตามปกติ

ในผลไม้เปลือกแข็ง:ระดับน้ำตาลในเลือดสามารถเป็นเรื่องที่ไม่สามารถพยากรณ์ได้ในวันที่ป่วย เพราะว่าคุณไม่สามารถมั่นใจอย่างถูกต้องว่าอาการป่วยจะส่งผลอย่างไรต่อการควบคุมเบาหวาน ซึ่งสำคัญมากที่จะตรวจเช็คระดับน้ำตาลในเลือดของลูกคุณอย่างสม่ำเสมอในวันที่ป่วย และปรับปริมาณการใช้อินซูลินเท่าที่จำเป็น

การเตรียมตัวล่วงหน้า

ทีมศูนย์สุขภาพสำหรับเด็กทีเป็นโรคเบาหวานจะรวบรวมคำแนะนำในวันที่ป่วยไว้ในแผนการดูแลเบาหวาน ซึ่งจะรวมถึง

  • การตรวจเช็คทั้งน้ำตาลในเลือดและคีโทนในปัสสาวะ เมื่อลูกของคุณป่วย
  • ยาที่วางขายตามเคาน์เตอร์และมีใบสั่งยาเป็นยาที่ดีเหมาะแก่การให้ลูกคุณรับประทานได้
  • อะไรที่ต้องปรับที่คุณควรทำให้ลูกในอาหารและเครื่องดื่ม และยาของลูกคุณ
  • เมื่อไหร่ที่ควรจะเรียกแพทย์หรือสมาชิกคนอื่นของทีมศูนย์ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน

อีกประการหนึ่งคือ เด็กที่ป่วยเป้นโรคเบาหวานควรได้รับวัคซีนนิวโมคอกคัสหรือวัคซีนปอดอักเสบ ซึ่งจะป้องกันและต่อต้านการติดเชื้อที่รุนแรงได้ ในโรคปอดบวมบางชนิด ติดเชื้อในกระแสเลือด โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ทุก ๆ ปีเช่นกัน วัคซีนชนิดนี้อาจช่วยจำนวนวันที่ป่วยลดลงได้

เมื่อลูกคุณป่วย

เมื่อไหร่ที่แพทย์ของคุณจะให้คำแนะนำพิเศษเกี่ยวข้องกับอะไรที่ต้องทำบ้างในวันที่ลูกคุณป่วย นี่คือบางส่วนของคำแนะนำ ปฏิบัติตามคำสั่งของแพทย์เว้นแต่ว่าแพทย์ได้แจ้งคุณว่าเขาได้มีการเปลี่ยนแปลงยาอะไร ให้แน่ใจว่าลูกของคุณยังได้รับประทานยา โรคเบาหวานตัวเดิม เป็นสิ่งสำคัญมากแก่ลูกของคุณที่ยังคงได้รับการฉีดอินซูลินในระหว่างที่ป่วย ถึงแม้ว่าจะรับประทนอาหารได้น้อยลง

ตับทำหน้าที่สร้างกลูโคสและปล่อยกลูโคสที่เก็บสะสมไว้ออกมาเข้าสู่กระแสเลือด ดังนั้นแม้ลูกของคุณจะรับประทานอะไรไม่ได้มาก ร่างกายยังคงต้องการอินซูลินเพื่อสังเคราะห์กลุโคส อันที่จริงเด็กบางคนต้องการอินซูลินเพิ่มมากกว่าปกติในวันที่ป่วยด้วย และเด็กบางคนที่ป่วยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ผู้ไม่ต้องการอินซูลินอาจต้องการเช่นกัน ไม่ได้รับอินซูลิน ร่างกายเริ่มทำการเผาผลาญไขมัน คีโทนที่สร้างในเลือด และภาวะที่มีน้ำตาลในเลือดสูงแต่อินซูลินต่ำ สามารถเกิดขึ้นได้ (ภาวะคิโตซิส)

หมั่นตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและคีโทนในปัสสาวะ น้ำตาลในเลือดควรตรวจเช็คบ่อยๆแพทย์ของคุณจะให้คำแนะนำคุณว่าควรจะตรวจบ่อยครั้งแค่ไหน

ตรวจปัสสาวะเพื่อหาระดับคีโทนเป็นเรื่องที่ต้องทำบ่อยๆอย่างแน่นอนระหว่างเจ็บป่วย (ถึงแม้ในเด็กที่ไม่เป็นโรคเบาหวาน) เมื่อเด็กบริโภคได้น้อย และร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปใช้ไขมันแทนพลังงาน แต่สำหรับเด็กที่ป่วยเป็นเบาหวานการทดสอบควรเตรียมไว้ก่อนสัญญาณเตือนล่วงหน้า เมื่อระดับน้ำตาลในเลือดอาจสะสมไว้มากพอที่จะทำให้เกิดภาวะคิโตซิส แผนการรักษาโรคเบาหวาน แผนการรักษาโรคเบาหวานควรแนะนำคุณว่าเมื่อไหร่ และป่วยมากแค่ไหนที่จะตรวจคีโทนในปัสสาวะของลูกคุณ

ให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการคลื่นไส้และอาเจียน เด็กที่เป็นโรคเบาหวานจับตัวแมลงในบางครั้งคราวส่งผลให้คลื่นไส้ อาเจียนได้ หรือปวดท้อง แต่เพราะว่าอาการเหล่านี้อาจเป็นอาการของ ภาวะคิโตซิส สำคัญอย่างมากที่จะตรวจหากลูโคสในเลือดและระดับคีโทนในปัสสาวะ และค้นหาความช่วยเหือด้านการแพทย์ตามที่แผลการรักษาโรคเบาหวานได้วางไว้

ป้องกันภาวะขาดน้ำให้ลูกของคุณดื่มของเหลวมากๆ นำเสนอเครื่องดื่มที่ลูกคุณชอบที่จะไม่ทำให้อาการแย่ลง เช่นคลื่นไส้ แพทย์ของคุณสามารถให้คำแนะนำเกี่ยวกับ อะไรที่ควรให้และจัดการกับความเจ็บป่วยและควบคุมอาการโรคเบาหวาน

ใช้ยาด้วยความไตร่ตรอง แม้ว่าความคิดเห็นของแพทย์เปลี่ยนไปไม่ว่าแพทย์นั้นได้ให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มที่แล้ว ยาวางขายหน้าเคานืเตอร์เป็นสิ่งที่ต้องให้บ่อยๆแก่เด็กๆ เพื่อควบคุมอาการเช่น โรคหวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ ยาเหล่านี้อาจประกอบด้วยส่วนผสมที่ทำให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงของระดับน้ำตาลในเลือดที่เลียนแบบอาการสูงหรือต่ำของระดับน้ำตาลในเลือด ปรึกษาแพทย์ของคุณก่อนให้ลูกคุรรับประทานยาที่วางขายหน้าเคาน์เตอร์ คำแนะนำการใช้ยาทั่วไปมักพบได้บ่อยๆในแผนการจัดการโรคเบาหวาน รวมถึงอะไรที่ควรเช็คบนฉลากยา หากยาที่วางขายหน้าเคาน์เตอร์ได้ให้ในปริมาณที่ถูกต้อง ยานี้โดยทั่วไปจะไม่ส่งผลข้างเคียงที่สำคัญต่อการควบคุมโรคเบาหวาน แต่ยาตามใบสั่งแพทย์ ยกตัวอย่างเช่น  กลูโคคอติคอยด์ (เหมือนที่เคยสั่งให้ผู้ป่วยโรคหอบหืดอาการกำเริบ) สามารถช่วยให้ระดับน้ำตาลในเลือดพุ่งขึ้นอย่างสำคัญ เพื่อให้แน่ใจว่าคุณทราบผลข้างเคียงที่เป็นไปได้ของยาตามใบสั่งแพทย์ว่าจะเกิดขึ้นกับลูกของคุณที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ติดต่อแพทย์ของคุณถ้าคุณคิดจะปรับขั้นตอนในแผนการรักษาโรคเบาหวานอาจจำเป็นต้องทำ

จดโน๊ต เมื่อไหร่ที่คุณปรึกษาแพทย์เก็บข้อมูลเหล่านี้ไว้ในมือเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วย อาการของโรค ยาและปริมาณการใช้ยา อาหารและเครื่องดื่มที่ควรบริโภคและไม่ว่าลูกของคุณจะทิ้งมันไป เขียนโน๊ตด้วยถ้าน้ำหนักหายไป หรือไข้ขึ้น และบันทึกระดับน้ำตาลในเลือดและระดับคีโทนในปัสสาวะ

ช่วยให้ลูกคุณได้พักผ่อนเต็มที่ เด็กๆต้องการการพักผ่อนเมื่อเจ็บป่วย ดังนั้นสนับสนุนให้เขานอนหลับและพักผ่อนให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เด็กผู้ที่สามารถจัดการกับเบาหวานด้วยตัวของเขาเองได้แล้วอาจต้องการความช่วยเหลือสักวันหรือสองวัน

เมื่อไหร่ที่จะเรียกแพทย์

แผนการจัดการลูกที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน จะร่วมถึงคำแนะนำพิเศษ ที่จะช่วยคุณจดจำเมื่อความช่วยเหลือทางการแพทย์ต้องกาใช้และขอคำแนะนำอะไรที่ต้องลงมือทำและใครที่ต้องโทรหา

โดยทั่วไปแล้ว คิด โทรหาแพทย์ของคุณหากลูกคุณป่วยและขาดความอยากอาหารหรือไม่มีแรงที่จะกินหรือดื่ม

มีอาการอาเจียนและท้องร่วงไม่หยุด

  • มีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเพราะว่ารับประทานอาหารได้น้อย แต่จำไว้ว่าคุณพยายามที่จะเตรียมสนับสนุนอาการของลูกคุณให้ดีขึ้น ฉีดกลูคากอนถ้าจำเป็น ก่อนที่เรียกแพทย์มาหรือรีบพาไปห้องฉุกเฉิน
  • มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงสำหรับการเช็คครั้งสองครั้ง หรือห้ามลดอินซูลินที่เพิ่ม
  • มีระดับปานกลางและปริมาณมากของจำนวนคีโทนในปัสสาวะ หรือระดับขงคีโทนในเลือดสูง หากคุณมีมิเตอร์ที่ไว้ใช้ตรวจสอบได้
  • อาจมีอาการของภาวะคิโตซิส
  • อาหารหรือของเหลวของเขาหรือเธอจะถูกจำกัด เพื่อทำบางสิ่ง เช่นว่า ทดสอบวินิจฉัย,ผ่าตัด,หรือขั้นตอนทางทันตกรรม

เมื่อไหร่ก็ตามที่คุณมีคำถามหรือข้อสงสัย เช็คกับแพทย์ของคุณร่วมกันคุณจะได้มั่นใจว่าลูกของคุณรู้สึกดีขึ้นอีกครั้งในเร็ว ๆ นี้

19/03/2018
บทความที่เกี่ยวข้อง
CHECKSUKKAPHAP.COM
เลขที่ 598 ชั้น 6 ถนนเพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
095-515-9229
ข้อกำหนดและเงื่อนไข ความเป็นส่วนตัว